1. มาตรการทางจริยธรรมของผู้ดํารงตําแหน่งทาง การเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหนา้ที่รัฐให้จัดทําเป็น ก. ประมวลจริยธรรม.ข. ระเบียบจริยธรรม.ค. หลักเกณฑ์จริยธรรม.ง. ข้อบังคับ |
2. สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆมีกําหนดกี่วัน ก. 60 วัน.ข. 90 วัน.ค. 120 วัน.ง. 180 วัน |
3. กรณีใดไม่ต้องประชุมร่วมกันของรัฐสภา ก. การแถลงนโยบาย.ข. ให้ความเห็นชอบถอดถอนนักการเมือง.ค. การเปิดอภิปรายท่ัวไป.ง. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ |
4. คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดิน ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดําเนิน การตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐภายในกี่วันนับ ตั้งแต่เข้ารับตําแหน่ง ก. 15 วัน.ข. 20 วัน.ค. 30 วัน.ง. โดยเร็ว |
5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีกี่มาตรา ก. 307 มาตรา.ข. 308 มาตรา.ค. 309 มาตรา.ง. 310 มาตรา |
6. ข้อใดคือวิธีการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ก. การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี.ข. ถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี.ค. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายก รัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี.ง. ถูกทุกข้อ |
7. เมื่อรัฐบาลได้ดําเนินการตามนโยบายที่แถลงต่อ รัฐสภาแล้ว ต้องทํารายงานผลการดําเนินงานปัญหา อุปสรรคต่อรัฐสภาปีละกี่ครั้ง ก. 1 ครั้ง.ข. 2 ครั้ง.ค. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง.ง. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง |
8. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง แบบแบ่งเขตว่างลงต้องจัดให้มีการเลือกตั้งแทน ตําแหน่งว่างดังกล่าวภายในกี่วัน ก. 30 วัน.ข. 45 วัน.ค. 60 วัน.ง. 45- 60 วัน |
9. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรฐัธรรมนูญ 2550 มีจํานวนกี่คน ก. 80 คน.ข. 400 คน.ค. 480 คน.ง. 500 คน |
10. การจัดการศึกษาที่กล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญ 2550 รัฐบาลควรจัดให้กับบุคคลใดบา้ง ก. บุคคลทั่วไป.ข. ผู้พิการหรือทุพพลภาพ.ค. ผู้ยากไร้และอยู่ในสภาพลําบาก.ง. ถูกทุกข้อ |
11. คณะรัฐมนตรีประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นรวมกันแล้วไม่เกินกี่คน ก. 33 คน.ข. 34 คน.ค. 35 คน.ง. 36 คน |
12. ข้อใดไม่ใช่ความเสมอภาคของบุคคล ก. ความเสมอในการฟ้องร้องต่อสู้คดีตอ่ศาล.ข. ความเสมอภาคในทางกฎหมาย.ค. ความเสมอภาคในเพศชายและเพศหญิง.ง. ความเสมอภาคในเชื้อชาติ ภาษา |
13. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน ก. วิจัย เผยแพร่ความรู้ด้านสิทธมินุษยชน.ข. ฟ้องคดีต่อศาลแทนผู้เสียหายเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชน.ค. ตรวจสอบการกระทําอันเป็นการละเมดิสิทธิ มนุษยชน.ง. ถูกทุกข้อ |
14. แนวนโยบายด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐานข้อใด กล่าวถูกต้องที่สุด ก. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจดัการศึกษา.ข. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมสี่วนร่วมใน การจัดการศึกษา.ค. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการ จัดการศึกษา.ง. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดและมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษา |
15. จะจํากัดเสรีภาพในการประกอบอาชีพของบุคคล ไม่ได้เว้นแต่ ก. เพื่อการรักษาความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย.ข. เพื่อคุ้มครองด้านสาธารณูปโภคและคุ้มครอง ผู้บริโภค.ค. เพื่อป้องกันการผูกขาดและขจัดความไม่เป็น ธรรมในการแข่งขัน.ง. ถูกทุกข้อ |
16. ผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลคณุธรรม จริยธรรมของ ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองคือใคร ก. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.ข. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.ง. ผู้ตรวจการรัฐสภา |
17. รัฐธรรมนูญกําหนดข้อห้ามการรวมตวัของ บุคคลในเรื่องใด ก. ห้ามรวมตัวกันเป็นสหภาพ.ข. ห้ามรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร.ค. ห้ามชุมนุมโดยใช้อาวุธ.ง. ห้ามข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐตั้งชมรม สมาคม |
18. ข้อใดเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ก. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.ข. องค์กรอัยการ.ค. คณะกรรมการสิทธมินุษยชน.ง. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ |
19. ข้อใดกล่าวไว้ไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรม นูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก. ผู้ใดจะละเมิดพระมหากษัตริย์ไม่ได้.ข. พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ.ค. พระมหากษัตริย์มีพระราชอํานาจทรงแต่งตั้ง และถอดถอนข้าราชการในพระองค์และ ข้าราชการพลเรือนทุกตําแหน่ง.ง. พระมหากษัตริย์ทรงดํารงตําแหน่งเป็น จอมทัพไทย |
20. ข้อใดไม่ใช่แนวนโยบายพื้นฐานด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก. การเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือครอง.ข. การจัดวางผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ.ค. การจัดหาแหล่งน้ําเพื่อการเกษตร.ง. การกําจัดมลพิษที่มีผลต่ออนามัย สวัสดิการ |
21. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการรฐัธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 คือ ก. ประธานรัฐสภา.ข. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.ง. นายกรัฐมนตรี |
22. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 ได้ให้ความคุ้มครองประชาชนชาวไทยเรื่องใด ก. ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์.ข. สิทธิ เสรีภาคและความเสมอภาค.ค. เหล่ากําเนิด เพศ ศาสนาที่นับถือ.ง. ถูกทุกข้อ |
23. ข้อใดกล่าวไว้ถูกต้องที่สุด ก. บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการศึกษา.ข. บุคคลย่อมมีสิทธิในทางวิชาการ.ค. บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ.ง. บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในทางวิชาการ |
24. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้มีคณะองคมนตรีกี่คน ก. 17 คน.ข. 18 คน.ค. 19 คน.ง. 20 คน |
25. การประชุมรัฐสภากรณีมีความจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ ก. สมัยสามัญ.ข. สมัยสามัญทั่วไป.ค. สมัยวิสามัญ.ง. สมัยสามัญนิติบัญญัติ |
26. ร่างพระราชบัญญัติเรื่องใดจะเสนอให้รัฐสภา พิจารณาได้ต้องมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรีก่อน ก. การเงิน.ข. ที่ดิน.ค. อาญา.ง. การป้องกันอาชญากรรม |
27. รัฐมนตรีผู้ไม่ยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สิน หรือจงใจ ยื่นด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หากพิจารณาแล้วมีความ ผิดจริงจะถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลากี่ปี ก. 3 ปี.ข. 4 ปี.ค. 5 ปี.ง. 7 ปี |
28. ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายต้อง ได้รับคําแนะนําและยินยอมจากใคร ก. รัฐสภา.ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.ค. สภาผู้แทนราษฎร.ง. วุฒิสภา |
29. ข้อใดไม่ใช่โยบายด้านการศึกษาตามแนว นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ก. การส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่าง ศาสนิกชน ทุกศาสนา.ข. การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุก รูปแบบ.ค. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ ก้าวหน้าและทันการเปลี่ยนแปลง.ง. การปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสํานึกของความ เป็นไทย |
30. ร่างพระราชบัญญัติที่ทั้งสองสภาเห็นไม่ตรงกัน ให้ดําเนินการเช่นใด ก. เป็นอันตกไป.ข. ตั้งกรรมาธิการร่วมพิจารณา.ค. ให้ยึดตามสภาผู้แทนราษฎร.ง. ให้ยึดตามวุฒิสภา |
31. อายุของสภาผู้แทนราษฎรกําหนดคราวละกี่ปี ก. 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง.ข. 4 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง.ค. 6 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง.ง. 6 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง |
32. เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการหรือผู้ทุพพล ภาพ ย่อมได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสมในคดีใด ก. คดีละเมิด.ข. คดีอาญา.ค. คดีความรุนแรงทางเพศ.ง. คดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและร่างกาย |
33. ขั้นตอนสุดท้ายก่อนจะประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก. ประชาชนลงมติ.ข. ประชาชนออกเสียงประชามติ.ค. ประชาชนออกเสียงเห็นชอบ.ง. ประชาพิจารณ์ |
34. "เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับ การพัฒนาด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญาตาม สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงการมีส่วน ร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสาํคัญ" ข้อความนี้จัดอยู่ ในข้อใด ก. สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา.ข. สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและ สวัสดิการจากรัฐ.ค. สิทธิส่วนบุคคล.ง. สิทธิในการอยู่รอด |
35. หากศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคการเมือง จะมี ผลให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งต่อหัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค มีกําหนดระยะเวลากี่ปีนับตั้ง แต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่ง ก. 3 ปี.ข. 4 ปี.ค. 5 ปี.ง. 6 ปี |
36. แนวนโยบายพื้นฐานด้านศาสนา สังคม สาธารณ สุข การศึกษา และวัฒนธรรม ไม่ได้กล่าวเรื่องใด เอาไว้ ก. การอบรมเลี้ยงดูให้การศึกษาปฐมวัย.ข. การอุปถัมภ์ คุ้มครองพระพุทธศาสนา.ค. การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการเพ่ือการ แข่งขัน.ง. การส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย |
37. องค์ประกอบของศาลรัฐธรรมนูญข้อใดถูกต้อง ก. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐ ธรรมนูญอื่นอีก 3 คน.ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 5 คน.ค. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 8 คน.ง. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 11 คน |
38. กฎหมายพระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดินจะต้องมีผู้ใดลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ก. นายกรัฐมนตรี.ข. รัฐมนตรี.ค. ประธานรัฐสภา.ง. แล้วแต่กรณี |
39. คณะกรรมการการเลือกตั้งได้มาโดยวิธีใด ก. การคัดเลือก.ข. การสรรหา.ค. การสอบ.ง. การเสนอชื่อโดยวุฒิสภา |
40. กรณีใดที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องถอดถอนนายกรัฐ มนตรี หรือรัฐมนตรี ก. มีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ.ข. ประพฤติชั่วอย่างรา้ยแรง.ค. ส่อว่ากระทําผิดในหน้าที่ราชการ.ง. ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ |
41. ร่างพระราชบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบ หรือพ้นเก้าสิบวันแล้วมิได้พระราชทานลงมา ต้องดําเนินการเช่นใด ก. ถือว่าตกไป.ข. รัฐสภานํามาปรึกษาพิจารณาใหม่.ค. เสนอร่างฉบับใหม่แทน.ง. นายกรัฐมนตรีนําไปประกาศราชกิจจา นุเบกษา |
42. ข้อใดเป็นทั้งสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ก. การพิทักษ์ รักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์.ข. การป้องกันประเทศ.ค. การศึกษาอบรม.ง. การเลือกตั้งตามกฎหมาย |
43. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีจํานวนกี่คน ก. 7 คน.ข. 8 คน.ค. 9 คน.ง. 10 คน |
44. ก่อนที่รัฐบาลจะดําเนินการตามโครงการใด ต้อง จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชา ชนอย่างทั่วถึง ยกเว้นเรื่องใด ก. แผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง.ข. การออกกฎหมายเกี่ยวกับภาษสีินค้าการ เกษตร.ค. การวางผังเมือง.ง. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ |
45. บุคคลที่ไม่สามารถยื่นเรื่องแกไ้ขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ ก. สมาชิกวุฒิสภา.ข. ส ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของ ส.ส. ทั้งหมด.ค. ส.ว.และ ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา.ง. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งไม่น้อย |
46. ในการบริหารราชการแผ่นดินรัฐมนตรีต้อง ดําเนินการตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ นโยบายที่ แถลงและต้องรับผิดชอบต่อใคร ก. คณะรัฐมนตรี.ข. ประชาชน.ค. นายกรัฐมนตรี.ง. สภาผู้แทนราษฎร |
47. วาระที่ต้องพิจารณาคะแนนมากเกินกว่ากึ่งหนึ่ง จึงนับว่าผ่าน ก. วาระที่ หนึ่ง.ข. วาระที่ สอง.ค. วาระที่ สาม.ง. ทุกวาระ |
48. การตรวจสอบข่าวก่อนนําเสนอหรือโฆษณา ของของหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนโดยเจ้าหน้าที่ รัฐในกรณีใดที่สามารถกระทําได้ ก. กรณีประเทศอยู่ในภาวะสงคราม.ข. กรณีความมั่นคงของชาติ.ค. กรณีรักษาศีลธรรมอนัดีและความสงบ เรียบร้อย.ง. กรณีป้องกันระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจ และสุขภาพของประชาชน |
49. จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่าใดจึง ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรได้ ก. 400 คน.ข. 420 คน.ค. 456 คน.ง. 480 คน |
50. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีจาํนวนกี่คน ก. 3 คน.ข. 5 คน.ค. 7 คน.ง. 9 คน |
51. วาระที่ต้องพิจารณาเรียงลําดับมาตรา ก. วาระที่ หนึ่ง.ข. วาระที่ สอง.ค. วาระที่ สาม.ง. วาระที่ ห้า |
52. ข้อใดเป็นเสรีภาพบริบูรณ์ ก. การนับถือศาสนา.ข. การสื่อสาร.ค. การประกอบอาชีพ.ง. การเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย |
53. ข้อใดเป็นหน้าที่ของบุคคล ก. รับราชการทหาร.ข. เสียภาษีอากร.ค. พิทักษ์ ปกป้องสืบสานวัฒนธรรม.ง. ถูกทุกข้อ |
54. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวนโยบายแห่ง รัฐด้านการต่างประเทศ ก. ส่งเสริมการค้าการลงทุนกับนานาประเทศ.ข. คุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทยใน ต่างประเทศ.ค. ปฏิบัติตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนที่ ประเทศไทยเป็นภาคี.ง. ประสานความร่วมมือกับนานาประเทศเพื่อ ป้องกันการก่อการร้ายข้ามชาติ |
55. การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นจัดอยู่ในแนวนโยบายพื้นฐานแหง่รัฐด้านใด ก. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน.ข. ด้านสังคม สาธารณสุขและวัฒนธรรม.ค. ด้านกฎหมายและการยุติธรรม.ง. ด้านการมีส่วนร่วม |
56. บุคคลที่ไม่มีสิทธิ์เสนอร่างประกอบรัฐธรรมนูญ ก. คณะรัฐมนตรี.ข. ประชาชนมีสิทธิ์ออกเสียงเลอืกตั้ง.ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.ง. ศาลรัฐธรรมนูญ |
57. ไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ก. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.ข. การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น.ค. การแต่งตั้งผู้บริหารท้องถิ่น.ง. การออกเสียงประชามติ |
58. บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรมใน เรื่องใด ก. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมโดยง่าย สะดวกรวดเร็ว ทั่วถึง.ข. การได้รับการสอบสวนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม.ค. การช่วยเหลือทางคดี.ง. ถูกทุกข้อ |
59. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีวาระในการ ดํารงตําแหน่งกี่ปี ก. 4 ปี.ข. 6 ปี.ค. 7 ปี.ง. 9ปี |
60. กําหนดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการ เมืองภาคพลเมือง จัดอยู่ในแนวนโยบายพื้นฐานแห่ง รัฐด้านใด ก. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.ข. ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน.ค. ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต.ง. ด้านกระบวนการยุติธรรม |
61. บุคคลที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องถูกถอดถอนออกจาก ตําแหน่ง ก. สมาชิกวุฒิสภา.ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ.ค. ปลัดกระทรวง.ง. รัฐมนตรี |
62. อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดให้มกีารเลือก ตั้งทั่วไปภายในกี่วันนับตั้งแต่วันสิ้นสุด ก. 30 วัน.ข. 45 วัน.ค. 60 วัน.ง. 45- 60วัน |
63. ข้อใดไม่ได้กล่าวไว้ในแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดิน ก. การส่งเสริมการดําเนินการตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง.ข. จัดระบบกําหนดขอบเขตอํานาจหน้าที่การ บริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น.ค. พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กร ปกครองส่วนทอ้งถิ่นขนาดใหญ่.ง. จัดระบบบริการราชการจังหวัดแบบบูรณาการ |
64. ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนกี่คน ก. 3 คน.ข. 5 คน.ค. 7 คน.ง. 9 คน |
65. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมีกี่ฉบับ ก. 7 ฉบับ.ข. 8 ฉบับ.ค. 9 ฉบับ.ง. แล้วแต่การเสนอ |
66. การจะประชุมลับไม่ว่าจะเป็นรัฐสภา สภาผู้แทน ราษฎร หรือวุฒิอสภา ต้องมีสมาชิกร้องขอจํานวน เท่าใดของแต่ละสภา ก. หนึ่งในสองของ ส.ส.เท่าที่มีอยู่.ข. หนึ่งในสามของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.ค. หนึ่งในสี่ของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.ง. หนึ่งในห้าของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่ |
67. การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภา ประกอบด้วยกี่วาระ ก. 2 วาระ.ข. 3 วาระ.ค. 4 วาระ.ง. 5 วาระ |
68. ข้อใดคือหน้าที่ของข้าราชการเจ้าหน้าที่รัฐใน ฐานะบุคคลทั่วไป ก. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.ข. อํานวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาติดต่อ ราชการ.ค. บริการประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล.ง. วางตนเป็นกลางทางการเมือง |
69. การตราพระราชกําหนดจะใช้ในกรณีใด ก. รักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอด ภัยสาธารณะ.ข. รักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ.ค. ป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ.ง. ถูกทุกข้อ |
70. ข้อใดคืออํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ก. จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.ข. พิจารณาเรื่องร้องเรียนของประชาชน.ค. ตรวจสอบการละเมิดสิทธิเด็กและสตรี.ง. ไต่สวนเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ํารวยผิดปกติ |
71. บุคคลผู้ใดไม่สามารถไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรได้ ก. มีอายุไม่ต่ํากว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง.ข. มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 90 วันนับ ถึงวันเลือกตั้ง.ค. มีสัญชาติไทย.ง. แปลงเป็นสัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี |
72. ข้อใดไม่ใช่แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้าน เศรษฐกิจ ก. การรักษษวินัยการเงินการคลัง.ข. การส่งเสริมการมีงานทํา.ค. การส่งเสริมระบบธนาคารหมู่บ้าน.ง. การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม |
73. ข้าราชการระดับใดขึ้นไปต้องเข้าสู่การพิจารณา ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติหากถูกร้องเรียนว่าร่ํารวยผิดปกติ ก. ผู้อํานวยการกอง.ข. รองอธิบดี.ค. อธิบดี.ง. ปลัดกระทรวง |
74. ข้อใดกล่าวถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ 2550 ก. รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภา.ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบไปด้วยสภา ผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา.ค. รัฐสภาประกอบไปด้วยสภานิติบัญญัติแห่ง ชาติและวุฒิสภา.ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบไปด้วย วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร |
75. ทุกข้อเป็นเสรีภาพของบุคคลยกเวน้ข้อใด ก. การสื่อสาร.ข. การปฎิบัติตามศาสนธรรม.ค. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม.ง. การประกอบอาชีพ |
76. บุคคลมีหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยการสิ้นสุดสมาชิก ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก. สภาผู้แทนราษฎร.ข. สมาชิกวุฒิสภา.ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.ง. ศาลรัฐธรรมนูญ |
77. การแบ่งเขตเลือกตั้งสําหรับสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรแบบสัดส่วน แบ่งตามข้อใด ก. หลายๆอําเภอติดต่อกันรวมเป็นเขตเลือกตั้ง.ข. จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง.ค. กลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง.ง. ภูมิภาคเป็นเขตเลือกตั้ง |
78. กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดํารงตําแหน่ง กี่ปี ก. 4 ปี.ข. 6 ปี.ค. 7 ปี.ง. 9 ปี |
79. รัฐมนตรีที่ถูกกล่าวหาว่าร่ํารวยผดิปกติจะถูก ดําเนินคดีที่ศาลใด ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.ข. ศาลยุติธรรม.ค. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่ง ทางการเมือง.ง. ศาลปกครอง |
80. การยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้ยื่นต่อหน่วยงานใด ก. ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน.ข. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.ค. องค์กรอัยการ.ง. ศาลอาญาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตาํแหน่ง ทางการเมือง |
81. ข้อใดคือศาลยุติธรรม ก. ศาลชั้นต้น ศาลสูงสุด.ข. ศาลกลาง ศาลสูงสุด.ค. ศาลชั้นต้น ศาลกลาง ศาลสูงสุด.ง. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา |
82. การดําเนินการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องดําเนินการภายในกี่วันนับแต่เข้ารับตําแหน่งหรือวันพ้นตําแหน่ง ก. 7 วัน.ข. 15 วัน.ค. 30 วัน.ง. 45 วัน |
83. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กรณีใดกระทํามิได้ ก. เพื่อพัฒนาระบบการแข่งขันของประเทศ.ข. เพื่อการอันเป็นสาธารณประโภค.ค. เพื่อการป้องกันประเทศ.ง. เพื่อการปฏิรูปที่ดิน |
84. มีอํานาจในการพิจารณาคดีกรณีพิพาทระหว่าง หน่วยงานราชการอันเนื่องมาจากการใช้อํานาจตาม กฎหมาย ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.ข. ศาลปกครอง.ค. ศาลยุติธรรม.ง. ศาลทหาร |
85. ผู้ที่ให้ความเห็นชอบรา่งรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 คือใคร ก. สภาร่างรัฐธรรมนูญ.ข. คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.ค. รัฐสภา.ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ |
86. สมาชิกวุฒิสภามีจํานวนกี่คน ก. 120 คน.ข. 150 คน.ค. 180 คน.ง. 200 คน |
87. ใครทําหน้าที่เป็นประธานรัฐสภา ก. ประธานวุฒิสภา.ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.ค. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.ง. ข้อ ข และ ค ถูก |
88. ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐสภาแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําทลูเกล้าฯภายในกี่ วัน ก. 15 วัน.ข. 20 วัน.ค. 25 วัน.ง. 30 วัน |
89. การประชุมรัฐสภาหากไม่ใช่กรณีจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สามารถขอให้เปิดประชุมรัฐสภาได้ แต่ต้องเข้าชื่อกันร้องขอโดยมีจํานวนเท่าใด ก. เกินกว่ากึ่งหนึ่งของ ส.ส.เท่าที่มีอยู่.ข. หนึ่งในสามของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.ค. หนึ่งในสี่ของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.ง. หนึ่งในห้าของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่ |
90. ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายต้อง ได้รับคําแนะนําและยินยอมจากใคร ก. รัฐสภา.ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.ค. สภาผู้แทนราษฎร.ง. วุฒิสภา |
91. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้บุคคลใดแตง่ตั้งผู้สําเร็จราชการ แทนพระองค์ ก. พระมหากษัตริย์.ข. คณะรัฐมนตรี.ค. คณะองคมนตรี.ง. พระมหากษัตริย์โดยความเห็นชอบรัฐสภา |
92. การกําหนดค่าตอบแทนของการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ให้คํานึงถึงราคาตามข้อใด ก. ราคาที่ทางราชการกําหนด.ข. ราคาตามที่ผู้ถูกเวนคืนกําหนด.ค. ราคาปกติในท้องตลาด.ง. ราคาขณะที่ได้มาของอสังหาริมทรัพย์นั้น |
93. สมาชิกวุฒิสภาไม่น้อยกว่ากี่คนมีสิทธิ์เข้าชื่อ ขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อให้คณะรัฐ มนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาสําคัญเกี่ยว กับการ บริหารราชการแผ่นดินโดยไม่มีการลงมติ ก. 1 ใน 3.ข. 1 ใน 5.ค. 1 ใน 6.ง. 2 ใน 5 |
94. จะสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ต้องมี อายุไม่ต่ํากว่ากี่ปี ก. 20 ปีบริบูรณ์.ข. 25 ปีบริบูรณ์.ค. 30 ปีบริบูรณ์.ง. 35 ปีบริบูรณ์ |
95. รัฐธรรมนูญ 2550 ได้กําหนดให้มีการตรวจสอบ การใช้อํานาจรัฐ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการตรวจ สอบอํานาจรัฐ ก. การตรวจสอบทรัพย์สิน.ข. การอภิปรายไม่ไว้วางใจ.ค. การกระทําที่ขัดกันแห่งผลประโยชน์.ง. การถอดถอนออกจากตําแหน่ง |
96. ขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่ร่างพระราชบัญญัติจะมีผล บังคับใช้เป็นกฎหมาย ก. การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร.ข. การพิจารณาของวุฒิสภา.ค. พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย.ง. การประกาศในราชกิจจานุเบกษา |
97. ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมและ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย สภาผู้แทน ราษฎรต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน ก. 20 วัน.ข. 30 วัน.ค. 60 วัน.ง. 105 วัน |
98. ไม่ใช่ข้อต้องห้ามการเป็นรัฐมนตรี ก. ไม่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.ข. ไม่เป็นวุฒิสมาชิก.ค. เคยต้องคําพิพากษาให้จําคุกพ้นโทษมา 4ปี.ง. ถูกไล่ออกจากราชการเพราะการทุจริต |
99. ร่างพระราชบัญญัติต้องเสนอสภาใดก่อน ก. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.ข. รัฐสภา.ค. วุฒิสภา.ง. สภาผู้แทนราษฎร |
100. บุคคลที่ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชพีและมี อายุเท่าใด จึงมีสิทธิได้รับสวัสดิการและความช่วย เหลือ จากรัฐ ก. 60 ปีบริบูรณ์.ข. เกิน 60 ปีบริบูรณ์.ค. 70 ปีบริบูรณ์.ง. เกิน 70 ปีบริบูรณ์ |
101. สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหามีจํานวนกี่คน ก. 56 คน.ข. 74 คน.ค. 76 คน.ง. 150 คน |
102. ก่อนที่รัฐบาลจะดําเนินกิจการหรอืโครงการใดที่ มีผลกระทบต่อบุคคลหรือชุมชน ควรให้บุคคลสิทธิ ต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด ก. เรียกร้องค่าเสียหายทดแทน.ข. ได้รับทราบข้อมูลโครงการ.ค. ได้รับคําชี้แจงเหตุผลการทําโครงการ.ง. ได้แสดงความคิดเห็นประกอบการดําเนินงาน |
103. การเลือกตั้งสมาชกิวุฒิสภาให้ดําเนินการตาม ข้อใด ก. หย่อนบัตรลงคะแนน.ข. ออกเสียงลงคะแนนโดยตรง.ค. ออกเสียงลงคะแนนโดยลับ.ง. ออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ |
104. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณา อรรถคดี.ข. การโยกย้ายผู้พิพากษาและตุลาการเจ้าตัวต้อง ยินยอม.ค. ผู้พิพากษาและอัยการจะเป็นกรรมการบริหาร พรรคการเมืองไม่ได้.ง. ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้ชี้ขาดกรณีปัญหาใน เรื่องอํานาจหน้าที่ของแต่ละศาล |
105. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีผลบังคับใช้วันใด ก. 23 สิงหาคม 2550.ข. 24 สิงหาคม 2550.ค. 25 สิงหาคม 2550.ง. 26 สิงหาคม 2550 |
106. คณะกรรมการการเลือกตั้งคือบุคคลที่มคีวาม เป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็น ที่ ประจักษ์ มีจํานวนกี่คน ก. 3 คน.ข. 5 คน.ค. 7 คน.ง. 9 คน |
107. ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐสภาแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําทลูเกล้าฯภายในกี่ วัน ก. 15 วัน.ข. 20 วัน.ค. 25 วัน.ง. 30 วัน |
108. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมีจํานวนกี่คน ก. 3 คน.ข. 5 คน.ค. 7 คน.ง. 9 คน |
109. คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองมีกี่คน ก. 5 คน.ข. 7 คน.ค. 9 คน.ง. 13 คน |
110. การประชุมรัฐสภาครั้งแรกต้องดาํเนินการภาย ในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก. 15 วัน.ข. 30 วัน.ค. 45 วัน.ง. 60 วัน |
111. ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐเป็นบุคคลสําคัญใน การที่จะทําให้นโยบายพื้นฐานรัฐด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน ควรพัฒนาส่งเสริมสนับสนุน อย่างไร ก. พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมอยู่เสมอ.ข. บริการอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน.ค. ให้ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม.ง. ถูกทุกข้อ |
112. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐ มนตรีจะทําได้หาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงชื่อกัน ไม่น้อยกว่าจํานวนเท่าใดของจํานวนสมาชิกทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ ก. 1 ใน 5.ข. 1 ใน 3.ค. 2 ใน 5.ง. 2 ใน 3 |
113. บุคคลใดต่อไปนี้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎร ก. ภิกษุ สามเณร.ข. ถูกศาลฟ้องคดีอาญา.ค. วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ.ง. อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง |
114. บุคคลใดสามารถสมคัรเป็นสมาชิกวุฒิสภาได้ ก. สัญญาโอนสัญชาติเป็นไทยเมื่อสิบปีที่แล้ว.ข. กรองแก้วมีอายุ 35 ปีบริบูรณ์ในวันรับสมัคร.ค. สําเร็จไม่มีวุฒิปริญญาตรี.ง. สุทินเกิดในจังหวัดที่สมัครแต่ย้ายไปอยู่ |
115. คณะกรรมาธิการที่ตั้งโดยวุฒฺสภาหรอืสภาผู้ แทนราษฎรที่พิจารณาเร่ืองใดเรื่องหนึ่งมีอํานาจออก คําสั่งเรียกเอกสารจากบุคคลใดหรือเรียกให้บุคคลใด มาแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความเห็นได้ยกเว้น ก. ผู้พิพากษา.ข. ตุลาการ.ค. กรรมการในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.ง. ถูกทุกข้อ |
116. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอกฎหมายเป็น ร่างพระราชบัญญัติได้ต้องมีอย่างน้อยเท่าใด ก. 20 คน.ข. หนึ่งในสอง.ค. หนึ่งในสาม.ง. หนึ่งในห้า |
117. เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งพ้นตามวาระต้อง ดําเนินการให้ได้มาภายในกี่วัน ก. 30 วัน.ข. 45 วัน.ค. 60 วัน.ง. 90 วัน |
118. เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรต้องจัดให้มีการ เลือกตั้งใหม่ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันยุบสภาฯ ก. 30 วัน.ข. 45 วัน.ค. 60 วัน.ง. 45- 60 วัน |
119. ข้อใดไม่ใช่องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.ข. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.ง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ |
120. การศึกษาสําหรับประชาชนที่กล่าวไว้ในรัฐ ธรรมนูญ ได้แก่การศึกษาตามข้อใด ก. การศึกษาทางเลือก.ข. การเรียนรู้ด้วยตนเอง.ค. การเรียนรู้ตลอดชีวิต.ง. ถูกทุกข้อ |
121. กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีวาระการดํารงตําแหน่งกี่ปี ก. 4 ปี.ข. 6 ปี.ค. 7 ปี.ง. 9 ปี |
122. ใครเป็นผู้วินิจฉัยว่ากระทําผิดกรณีรัฐมนตรีผู้ไม่ยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สิน หรือจงใจยื่นด้วยข้อความอันเป็นเท็จ ก. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.ข. องค์กรอัยการ.ค. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.ง. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้อํารงตาํแหน่ง ทางการเมือง |
123. ใครเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งองคมนตรีหรือให้องคมนตรีพ้นจากตําแหน่ง ก. ประธานรัฐสภา.ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.ค. ประธานวุฒิสภา.ง. ประธานองคมนตรี |
124. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เป็นรายบุคคลจะทําได้หาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ลงชื่อกันไม่น้อยกว่าจํานวนเท่าใดของจํานวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ก. 1 ใน 3.ข. 1 ใน 5.ค. 1 ใน 6.ง. 2 ใน 5 |
125. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภามีจํานวน กี่คน ก. 5 คน.ข. 7 คน.ค. 9 คน.ง. 15 คน |
126. ใครเป็นผู้แต่งตั้งรฐัมนตรี ก. พระมหากษัตริย์.ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.ค. ประธานรัฐสภา.ง. นายกรัฐมนตรี |
127. ข้อใดเป็นบทบาทหน้าที่ของข้าราชการเจ้าหน้าที่ รัฐ ที่แตกต่างไปจากประชาชนทั่วไป ก. การเสียภาษีอากร.ข. การรักษาผลประโยชน์ของชาติ.ค. การวางตัวเป็นกลางทางการเมือง.ง. การป้องกันภัยพิบัติ |
128. บทบาทขององคก์รปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยว ข้องกับการศึกษา ก. มีสิทธิ์จัดการศึกษาอบรมและฝึกอาชีพตาม ความเหมาะสม.ข. ส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม.ค. เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรม ของรัฐ.ง. ข้อ ก และ ค ถูก |
129. การยุบสภาหรือการกําหนดวันเลือกตั้งทั่วไปให้ กําหนดเป็นกําหมายใด ก. พระราชบัญญัติ.ข. พระราชกําหนด.ค. พระราชกฤษฎีกา.ง. ระเบียบ |
130. ผู้มีอํานาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎรคือใคร ก. นายกรัฐมนตรี.ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.ค. ประธานรัฐสภา.ง. พระมหากษัตริย์ |
131. สิ่งที่รัฐบาลสามารถกระทําได้ต่อสื่อมวลชนคือ ก. การให้เงินอุดหนุนกิจการหนังสือพิมพ์หรือ สื่อมวลชนของเอกชน.ข. การจัดระเบียบสื่อมวลชน.ค. การสั่งปิดหนังสือพิมพ์.ง. ห้ามเสนอข่าวหรือปกปิดหรือปิดเบือนข่าว ที่เป็นผลเสียต่อรัฐบาล |
132. ตําแหน่งใดไม่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะทุกครั้งที่เข้ารับตําแหน่งหรือพ้นจากตําแหน่ง ก. รัฐมนตรี.ข. ปลัดกระทรวง.ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี.ง. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร |
133. บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธหิรือเสรีภาพที่รัฐธรรม นูญรับรองไว้ให้ยื่นคําร้องต่อศาลใดเพื่อวินิจฉัยว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ได้ ก. ศาลยุติธรรม.ข. ศาลรัฐธรรมนูญ.ค. ศาลปกครอง.ง. ศาลทหาร |
134. คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมมีจํานวนกี่ คน ก. 7 คน.ข. 9 คน.ค. 15 คน.ง. 19 คน |
135. นโยบายพื้นฐานแห่งรฐัด้านการบริหารราชการ แผ่นดินกําหนดให้พัฒนาระบบงานภาครฐั เพื่อให้ การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสทิธิภาพด้วย วิธีการใด ก. วางระบบการให้บริการสาธารณะที่รวดเร็ว โปรงใส เป็นธรรม.ข. พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมของเจ้า หน้าที่รัฐ.ค. ปรับปรุงรูปแบบวิธีการทํางาน.ง. ถูกทุกข้อ |
136. ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งจํานวนกี่คนสามารถเข้าชื่อถอดถอนนักการเมืองได้ ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน.ข. ไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน.ค. ไม่น้อยกว่าสามหมื่นคน.ง. ไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน |
137. จะได้เป็นนายกรัฐมนตรีต้องมีสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรลงมติให้กี่คน ก. 20 คน.ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5.ค. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 6.ง. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง |
138. การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานรัฐเป็น ไปตามหลักใด ก. หลักธรรมาภิบาล.ข. หลักนิติธรรม.ค. หลักคุณธรรม.ง. หลักความเป็นกลาง |
139. องค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมตาม แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านกฎหมายและยุติ ธรรมควรมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นองค์กรในกํากับของรัฐ.ข. เป็นองคืกรอิสระ.ค. เป็นองค์กรมหาชน.ง. เป็นหน่วยงานพิเศษ |
140. สมาชิกภาพของวุฒิสมาชิกกําหนดไว้คราวละกี่ปี ก. 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง/สรรหา.ข. 4 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง/สรรหา.ค. 6 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง/สรรหา.ง. 6 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง/สรรหา |
141. ศาลใดมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการดําเนินคดี อาญาของผู้ดํารงตาํแหน่งทางการเมือง ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.ข. ศาลปกครอง.ค. ศาลยุติธรรม.ง. ศาลฎีกา |
142. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้อํานาจอธิปไตยเป็นของใคร ก. พระมหากษัตริย์.ข. ปวงชนชาวไทย.ค. นายกรัฐมนตรี.ง. คณะรัฐมนตรี |
143. บุคคลใดบ้างสามารถร้องขอให้ถอดถอนรัฐ มนตรีที่มีพฤติการร่ํารวยผิดปกติ ก. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1ใน4 ของจํานวนส.ส.ที่มี อยู่ในสภา.ข. ส.ว.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจํานวน ส.ว. ทั้ง หมดที่มีอยู่ในสภา.ค. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งไม่น้อย กว่า 2 หมื่นคน.ง. ถูกทุกข้อ |
144. บุคคลมีทั้งสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใด ก. สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย.ข. สิทธิและเสรีภาพในเคหะสถาน.ค. สิทธิและเสรีภาพในการเดินทาง.ง. สิทธิและเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่ |
145. ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านเศรษฐกิจ สิ่งใดเป็นกรอบในการดําเนินการ ก. เศรษฐกิจชุมชน.ข. เศรษฐกิจการตลาด.ค. เศรษฐกิจพอเพียง.ง. เศรษฐกิจเสรี |
146. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิทางการศึกษา ก. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปี.ข. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถึงและมี คุณภาพ.ค. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และไม่เก็บค่าใช้จ่าย.ง. บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการรับการ ศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถงึ และมีคุณภาพและไม่เก็บค่าใช้จ่าย |
147. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งกี่คนสามารถ เสนอกฎหมายเป็นร่างพระราชบัญญัติได้ ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน.ข. ไม่น้อยกว่าสองหมื่นห้าพันคน.ค. ไม่น้อยกว่าสามหมื่นคน.ง. ไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน |
148. ข้อใดเป็นสิทธิบุคคลต่อข้อมูลข่าวสารของ ราชการ ก. รับทราบข้อมูลข่าวสารราชการ.ข. เข้าถึงข้อมูลข่าวสารราชการ.ค. ให้ข้อมูลข่าวสาร.ง. ถูกทุกข้อ |
149. สมัยประชุมของรัฐสภา ใน 1 ปี ก. สมัยสามัญทั่วไป.ข. สมัยสามัญนิติบัญญัติ.ค. สมัยวิสามัญ.ง. สมัยสามัญทั่วไปและสมัยสามัญนิติบญัญัติ |
150. ใครมีหน้าที่ถอดถอนรัฐมนตรีที่ฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.ข. วุฒิสภา.ค. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดํารงตําแหน่งทาง การเมือง.ง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ |
151. วาระของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดตามข้อ 75 ต้อง เลือกตั้งใหม่ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันหมดวาระ ก. 30 วัน.ข. 45 วัน.ค. 60 วัน.ง. 45- 60 วัน |
http://www.thaitestonline.com
|
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น