วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2558

เฉลยแนวข้อสอบวิชาการศึกษาสำหรับเตรียมสอบ ครูผู้ช่วย

เฉลยแนวข้อสอบวิชาการศึกษาสำหรับเตรียมสอบ ครูผู้ช่วย

http://www.thaitestonline.com

#####เฉลยของข้อสอบคือข้อที่เป็นตัวหนา#####
1. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนตามความสนใจของตนเอง คือปรัชญาข้อใด
ก. อัตถิภาวะนิยม.
ข. ประสบการณ์นิยม.
ค. พิพัฒนาการนิยม.
ง. จิตนิยม
2. บิดาแห่งจิตวิทยา คือใคร
ก. ฟรอยด์.
ข. สกินเนอร์.
ค. ธอร์นไดค์.
ง. บรุนเนอร์
3. เทคนิคการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบสืบค้นคือข้อใด
ก. Inquiry.
ข. Questioning.
ค. Discovery.
ง. Case Study
4. หลักการสอนทั่วไปแบบใดจะเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีที่สุด
ก. เรียนปนเล่น.
ข. เรียนสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว.
ค. เรียนจากงา่ยไปหายาก.
ง. เรียนโดยการลงมือปฎิบัติ
5. นักจิตวิทยาที่ให้ความสำคัญกับแรงขับทางเพศ คือใคร
ก. ฟรอยด์.
ข. บรุนเนอร์.
ค. การ์ดเนอร์.
ง. มาสโลว์
6. PBL หมายถึงอะไร
ก. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน.
ข. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน.
ค. การสอนการคิด.
ง. การสอนแบบบูรณาการ
7. ปรัชญาหมายถึงข้อใด
ก. การค้นพบทางแห่งความจริง.
ข. ความรักในความรู้.
ค. การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์.
ง. ความฉลาดปราดเปรื่อง
8. การนำสิ่งที่เรียนรู้แล้วในอดีตมาใช้แก้ปัญหากับสภาพการณ์ใหม่ๆในปัจุบันหรืออนาคต คืออะไร
ก. การถ่ายโยงการเรียนรู้.
ข. การเสริมแรง.
ค. แรงจูงใจ.
ง. สถานการณ์จำลอง
9. ข้อใดเป็นทักษะการคิดชั้นสูง
ก. ความเข้าใจ.
ข. การนำไปใช้.
ค. ความรู้ความจำ.
ง. การสังเคราะห์
10. ครูคนใดใช้แนวคิดารเรียนแบบเสริมแรงทางบวก
ก. ครูติ๋มลงโทษนักเรียนที่ไม่ส่งงาน.
ข. ครูไทยแท้ตำหนินักเรียนที่ผิดระเบียบ.
ค. ครูทองแท้ชื่นชมนักเรียนหน้าเสาธง.
ง. ครูสนธยาเพิกเฉยกับนักเรียนที่ขาดเรียน
11. เทคนิคการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบค้นพบ คือข้อใด
ก. Inquiry.
ข. Questioning.
ค. Discovery.
ง. Case Study
12. โฮเวอร์ด การ์ดเนอร์ ได้ค้นพบแนวคิดทฤษฎีของใคร
ก. พหุปัญญา.
ข. 4 MAT.
ค. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค.
ง. หมวก 6 ใบ
13. การเรียนแบบเน้นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย คือแนวคิดของกลุ่มใด
ก. สัมพันธ์เชื่อมโยง.
ข. เกสตัลท์.
ค. การวางเงื่อนไข.
ง. พฤติกรรมนิยม
14. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตรงกับข้อใด
ก. การตอบสนองความต้องการของผู้เรียน.
ข. การส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยเรียนรู้ด้วยตัวเอง.
ค. ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่.
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
15. ทฤษฎีการเสริมแรง เกิดจากแนวคิดของนักการศึกษาคนใด
ก. วัตสัน.
ข. พลาฟลอฟ.
ค. สกินเนอร์.
ง. ธอร์นไดค์
16. เทคนิคการจัดการเรียนการสอน การเรียนแบบใช้กรณีศึกษา คือข้อใด
ก. Inquiry.
ข. Questioning.
ค. Discovery.
ง. Case Study
17. วิธีสอนแบบใดจัดว่าเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมากกว่าวิธีอื่น
ก. การดูวิดีทัศน์.
ข. การสอนแบบโครงงาน.
ค. การบรรยาย.
ง. การระดมพลังสมอง
18. องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาของ บลูม คือข้อใด
ก. อัตถจริยา สมานัตตา ปัญญา.
ข. พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย.
ค. พุทธิพิสัย อัตพิสัย.
ง. ปัญญา สติ จิต
19. Learning by doing เป็นแนวคิดของใคร
ก. อริสโตเติล.
ข. จอห์นดิวอี้.
ค. ฟรอยด์.
ง. เพลโต
20. เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบ แก้ปัญหา คือข้อใด
ก. Inquiry.
ข. Questioning.
ค. Discovery.
ง. Case Study

http://www.thaitestonline.com




วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย


 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย เรื่อง กฏหมายการศึกษา ชุดที่ 1 จำนว
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 7397 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย เรื่อง กฏหมายการศึกษา
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 14845 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย ชุด ความรอบรู้ 50 ข้อ 
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 17202 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครุผู้ช่วย ชุดความรอบรู้ 60 ข้อ 
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 4746 ครั้ง
 ข้อสอบ บรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอก ปฐมวัย พร้อมเฉลย 50 ข้อ
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 3468 ครั้ง
 แนวข้อสอบ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 8781 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย ครู กทม
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 519 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกสังคมศึกษา 100 ข้อ
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 3602 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาความสามารถทั่วไป
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 13177 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุข้าราชการ เรื่อง อนุกรม 
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 2513 ครั้ง

---------------------------
เว็บแบบทดสอบออนไลน์ 

TAG : ข้อสอบใบขับขี่,ข้อสอบใบขับขี่รถยนต์พร้อมเฉลย,แนวข้อสอบใบขับขี่รถยนต์,ข้อสอบใบขับขี่ 2557,แนวข้อสอบใบขับขี่รถจักรยานยนต์ 2557,ข้อสอบอาเซียน,ข้อสอบใบขับขี่รถจักรยานยนต์ 2557,แบบทดสอบใบขับขี่รถยนต์ 2557 ออนไลน์,สอบข้อเขียนใบขับขี่

รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วย

 รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วย ความรอบรู้ ชุดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั
ผู้ออกข้อสอบ - ทดสอบแล้ว 5502 ครั้ง
 รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วย ความรอบรู้ ชุดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 8444 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 10300 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย ชุด พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 10194 ครั้ง
 แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย ชุด พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 21673 ครั้ง
 แนวข้อสอบครูผู้ช่วย ชุด พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 7118 ครั้ง
 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และแก้ไขเพิ่มเติม
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 12644 ครั้ง
 แนวข้อสอบครูผู้ช่วย พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 6180 ครั้ง
 แนวข้อสอบครูผู้ช่วย ความรอบรู้ ชุดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่
ผู้ออกข้อสอบ เว็บไทยเทสออนไลน์ ทดสอบแล้ว 2750 ครั้ง
 ประวีณา
ผู้ออกข้อสอบ ทดสอบแล้ว 1332 ครั้ง


---------------------------
เว็บแบบทดสอบออนไลน์ 

TAG : ข้อสอบใบขับขี่,ข้อสอบใบขับขี่รถยนต์พร้อมเฉลย,แนวข้อสอบใบขับขี่รถยนต์,ข้อสอบใบขับขี่ 2557,แนวข้อสอบใบขับขี่รถจักรยานยนต์ 2557,ข้อสอบอาเซียน,ข้อสอบใบขับขี่รถจักรยานยนต์ 2557,แบบทดสอบใบขับขี่รถยนต์ 2557 ออนไลน์,สอบข้อเขียนใบขับขี่

วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558

เฉลยรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วย ความรอบรู้ ชุดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

เฉลยรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วย ความรอบรู้ ชุดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

http://www.thaitestonline.com

เฉลยแบบทดสอบครูผู้ช่วย
#####เฉลยของข้อสอบคือข้อที่เป็นตัวหนา#####
1. มาตรการทางจริยธรรมของผู้ดํารงตําแหน่งทาง การเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหนา้ที่รัฐให้จัดทําเป็น 
ก. ประมวลจริยธรรม.
ข. ระเบียบจริยธรรม.
ค. หลักเกณฑ์จริยธรรม.
ง. ข้อบังคับ
2. สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆมีกําหนดกี่วัน 
ก. 60 วัน.
ข. 90 วัน.
ค. 120 วัน.
ง. 180 วัน
3. กรณีใดไม่ต้องประชุมร่วมกันของรัฐสภา 
ก. การแถลงนโยบาย.
ข. ให้ความเห็นชอบถอดถอนนักการเมือง.
ค. การเปิดอภิปรายท่ัวไป.
ง. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
4. คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดิน ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภาและชี้แจงการดําเนิน การตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐภายในกี่วันนับ ตั้งแต่เข้ารับตําแหน่ง 
ก. 15 วัน.
ข. 20 วัน.
ค. 30 วัน.
ง. โดยเร็ว
5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีกี่มาตรา 
ก. 307 มาตรา.
ข. 308 มาตรา.
ค. 309 มาตรา.
ง. 310 มาตรา
6. ข้อใดคือวิธีการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน 
ก. การตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี.
ข. ถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี.
ค. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายก รัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี.
ง. ถูกทุกข้อ
7. เมื่อรัฐบาลได้ดําเนินการตามนโยบายที่แถลงต่อ รัฐสภาแล้ว ต้องทํารายงานผลการดําเนินงานปัญหา อุปสรรคต่อรัฐสภาปีละกี่ครั้ง 
ก. 1 ครั้ง.
ข. 2 ครั้ง.
ค. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง.
ง. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
8. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง แบบแบ่งเขตว่างลงต้องจัดให้มีการเลือกตั้งแทน ตําแหน่งว่างดังกล่าวภายในกี่วัน 
ก. 30 วัน.
ข. 45 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 45- 60 วัน
9. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรฐัธรรมนูญ 2550 มีจํานวนกี่คน 
ก. 80 คน.
ข. 400 คน.
ค. 480 คน.
ง. 500 คน
10. การจัดการศึกษาที่กล่าวไว้ในรัฐธรรมนูญ 2550 รัฐบาลควรจัดให้กับบุคคลใดบา้ง 
ก. บุคคลทั่วไป.
ข. ผู้พิการหรือทุพพลภาพ.
ค. ผู้ยากไร้และอยู่ในสภาพลําบาก.
ง. ถูกทุกข้อ
11. คณะรัฐมนตรีประกอบไปด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นรวมกันแล้วไม่เกินกี่คน 
ก. 33 คน.
ข. 34 คน.
ค. 35 คน.
ง. 36 คน
12. ข้อใดไม่ใช่ความเสมอภาคของบุคคล 
ก. ความเสมอในการฟ้องร้องต่อสู้คดีตอ่ศาล.
ข. ความเสมอภาคในทางกฎหมาย.
ค. ความเสมอภาคในเพศชายและเพศหญิง.
ง. ความเสมอภาคในเชื้อชาติ ภาษา
13. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน 
ก. วิจัย เผยแพร่ความรู้ด้านสิทธมินุษยชน.
ข. ฟ้องคดีต่อศาลแทนผู้เสียหายเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชน.
ค. ตรวจสอบการกระทําอันเป็นการละเมดิสิทธิ มนุษยชน.
ง. ถูกทุกข้อ
14. แนวนโยบายด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐานข้อใด กล่าวถูกต้องที่สุด 
ก. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจดัการศึกษา.
ข. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมสี่วนร่วมใน การจัดการศึกษา.
ค. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการ จัดการศึกษา.
ง. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดและมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษา
15. จะจํากัดเสรีภาพในการประกอบอาชีพของบุคคล ไม่ได้เว้นแต่ 
ก. เพื่อการรักษาความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย.
ข. เพื่อคุ้มครองด้านสาธารณูปโภคและคุ้มครอง ผู้บริโภค.
ค. เพื่อป้องกันการผูกขาดและขจัดความไม่เป็น ธรรมในการแข่งขัน.
ง. ถูกทุกข้อ
16. ผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลคณุธรรม จริยธรรมของ ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองคือใคร 
ก. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.
ข. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.
ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.
ง. ผู้ตรวจการรัฐสภา
17. รัฐธรรมนูญกําหนดข้อห้ามการรวมตวัของ บุคคลในเรื่องใด 
ก. ห้ามรวมตัวกันเป็นสหภาพ.
ข. ห้ามรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร.
ค. ห้ามชุมนุมโดยใช้อาวุธ.
ง. ห้ามข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐตั้งชมรม สมาคม
18. ข้อใดเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 
ก. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.
ข. องค์กรอัยการ.
ค. คณะกรรมการสิทธมินุษยชน.
ง. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
19. ข้อใดกล่าวไว้ไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรม นูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 
ก. ผู้ใดจะละเมิดพระมหากษัตริย์ไม่ได้.
ข. พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ.
ค. พระมหากษัตริย์มีพระราชอํานาจทรงแต่งตั้ง และถอดถอนข้าราชการในพระองค์และ ข้าราชการพลเรือนทุกตําแหน่ง.
ง. พระมหากษัตริย์ทรงดํารงตําแหน่งเป็น จอมทัพไทย
20. ข้อใดไม่ใช่แนวนโยบายพื้นฐานด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
ก. การเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือครอง.
ข. การจัดวางผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ.
ค. การจัดหาแหล่งน้ําเพื่อการเกษตร.
ง. การกําจัดมลพิษที่มีผลต่ออนามัย สวัสดิการ
21. ผู้รับสนองพระบรมราชโองการรฐัธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 คือ 
ก. ประธานรัฐสภา.
ข. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.
ง. นายกรัฐมนตรี
22. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 ได้ให้ความคุ้มครองประชาชนชาวไทยเรื่องใด 
ก. ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์.
ข. สิทธิ เสรีภาคและความเสมอภาค.
ค. เหล่ากําเนิด เพศ ศาสนาที่นับถือ.
ง. ถูกทุกข้อ
23. ข้อใดกล่าวไว้ถูกต้องที่สุด 
ก. บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการศึกษา.
ข. บุคคลย่อมมีสิทธิในทางวิชาการ.
ค. บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ.
ง. บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในทางวิชาการ
24. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้มีคณะองคมนตรีกี่คน 
ก. 17 คน.
ข. 18 คน.
ค. 19 คน.
ง. 20 คน
25. การประชุมรัฐสภากรณีมีความจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ 
ก. สมัยสามัญ.
ข. สมัยสามัญทั่วไป.
ค. สมัยวิสามัญ.
ง. สมัยสามัญนิติบัญญัติ
26. ร่างพระราชบัญญัติเรื่องใดจะเสนอให้รัฐสภา พิจารณาได้ต้องมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรีก่อน 
ก. การเงิน.
ข. ที่ดิน.
ค. อาญา.
ง. การป้องกันอาชญากรรม
27. รัฐมนตรีผู้ไม่ยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สิน หรือจงใจ ยื่นด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หากพิจารณาแล้วมีความ ผิดจริงจะถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลากี่ปี 
ก. 3 ปี.
ข. 4 ปี.
ค. 5 ปี.
ง. 7 ปี
28. ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายต้อง ได้รับคําแนะนําและยินยอมจากใคร 
ก. รัฐสภา.
ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
ค. สภาผู้แทนราษฎร.
ง. วุฒิสภา
29. ข้อใดไม่ใช่โยบายด้านการศึกษาตามแนว นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
ก. การส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่าง ศาสนิกชน ทุกศาสนา.
ข. การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุก รูปแบบ.
ค. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ ก้าวหน้าและทันการเปลี่ยนแปลง.
ง. การปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสํานึกของความ เป็นไทย
30. ร่างพระราชบัญญัติที่ทั้งสองสภาเห็นไม่ตรงกัน ให้ดําเนินการเช่นใด 
ก. เป็นอันตกไป.
ข. ตั้งกรรมาธิการร่วมพิจารณา.
ค. ให้ยึดตามสภาผู้แทนราษฎร.
ง. ให้ยึดตามวุฒิสภา
31. อายุของสภาผู้แทนราษฎรกําหนดคราวละกี่ปี 
ก. 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง.
ข. 4 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง.
ค. 6 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง.
ง. 6 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง
32. เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการหรือผู้ทุพพล ภาพ ย่อมได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสมในคดีใด 
ก. คดีละเมิด.
ข. คดีอาญา.
ค. คดีความรุนแรงทางเพศ.
ง. คดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและร่างกาย
33. ขั้นตอนสุดท้ายก่อนจะประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 
ก. ประชาชนลงมติ.
ข. ประชาชนออกเสียงประชามติ.
ค. ประชาชนออกเสียงเห็นชอบ.
ง. ประชาพิจารณ์
34. "เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับ การพัฒนาด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญาตาม สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงการมีส่วน ร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสาํคัญ" ข้อความนี้จัดอยู่ ในข้อใด 
ก. สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา.
ข. สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและ สวัสดิการจากรัฐ.
ค. สิทธิส่วนบุคคล.
ง. สิทธิในการอยู่รอด
35. หากศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคการเมือง จะมี ผลให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งต่อหัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค มีกําหนดระยะเวลากี่ปีนับตั้ง แต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่ง 
ก. 3 ปี.
ข. 4 ปี.
ค. 5 ปี.
ง. 6 ปี
36. แนวนโยบายพื้นฐานด้านศาสนา สังคม สาธารณ สุข การศึกษา และวัฒนธรรม ไม่ได้กล่าวเรื่องใด เอาไว้ 
ก. การอบรมเลี้ยงดูให้การศึกษาปฐมวัย.
ข. การอุปถัมภ์ คุ้มครองพระพุทธศาสนา.
ค. การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการเพ่ือการ แข่งขัน.
ง. การส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย
37. องค์ประกอบของศาลรัฐธรรมนูญข้อใดถูกต้อง 
ก. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐ ธรรมนูญอื่นอีก 3 คน.
ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 5 คน.
ค. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 8 คน.
ง. ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล รัฐธรรมนูญอื่นอีก 11 คน
38. กฎหมายพระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดินจะต้องมีผู้ใดลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 
ก. นายกรัฐมนตรี.
ข. รัฐมนตรี.
ค. ประธานรัฐสภา.
ง. แล้วแต่กรณี
39. คณะกรรมการการเลือกตั้งได้มาโดยวิธีใด 
ก. การคัดเลือก.
ข. การสรรหา.
ค. การสอบ.
ง. การเสนอชื่อโดยวุฒิสภา
40. กรณีใดที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องถอดถอนนายกรัฐ มนตรี หรือรัฐมนตรี 
ก. มีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ.
ข. ประพฤติชั่วอย่างรา้ยแรง.
ค. ส่อว่ากระทําผิดในหน้าที่ราชการ.
ง. ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่
41. ร่างพระราชบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบ หรือพ้นเก้าสิบวันแล้วมิได้พระราชทานลงมา ต้องดําเนินการเช่นใด 
ก. ถือว่าตกไป.
ข. รัฐสภานํามาปรึกษาพิจารณาใหม่.
ค. เสนอร่างฉบับใหม่แทน.
ง. นายกรัฐมนตรีนําไปประกาศราชกิจจา นุเบกษา
42. ข้อใดเป็นทั้งสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ 
ก. การพิทักษ์ รักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์.
ข. การป้องกันประเทศ.
ค. การศึกษาอบรม.
ง. การเลือกตั้งตามกฎหมาย
43. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีจํานวนกี่คน 
ก. 7 คน.
ข. 8 คน.
ค. 9 คน.
ง. 10 คน
44. ก่อนที่รัฐบาลจะดําเนินการตามโครงการใด ต้อง จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชา ชนอย่างทั่วถึง ยกเว้นเรื่องใด 
ก. แผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง.
ข. การออกกฎหมายเกี่ยวกับภาษสีินค้าการ เกษตร.
ค. การวางผังเมือง.
ง. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
45. บุคคลที่ไม่สามารถยื่นเรื่องแกไ้ขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ 
ก. สมาชิกวุฒิสภา.
ข. ส ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของ ส.ส. ทั้งหมด.
ค. ส.ว.และ ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา.
ง. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งไม่น้อย
46. ในการบริหารราชการแผ่นดินรัฐมนตรีต้อง ดําเนินการตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ นโยบายที่ แถลงและต้องรับผิดชอบต่อใคร 
ก. คณะรัฐมนตรี.
ข. ประชาชน.
ค. นายกรัฐมนตรี.
ง. สภาผู้แทนราษฎร
47. วาระที่ต้องพิจารณาคะแนนมากเกินกว่ากึ่งหนึ่ง จึงนับว่าผ่าน 
ก. วาระที่ หนึ่ง.
ข. วาระที่ สอง.
ค. วาระที่ สาม.
ง. ทุกวาระ
48. การตรวจสอบข่าวก่อนนําเสนอหรือโฆษณา ของของหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนโดยเจ้าหน้าที่ รัฐในกรณีใดที่สามารถกระทําได้ 
ก. กรณีประเทศอยู่ในภาวะสงคราม.
ข. กรณีความมั่นคงของชาติ.
ค. กรณีรักษาศีลธรรมอนัดีและความสงบ เรียบร้อย.
ง. กรณีป้องกันระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจ และสุขภาพของประชาชน
49. จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่าใดจึง ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรได้ 
ก. 400 คน.
ข. 420 คน.
ค. 456 คน.
ง. 480 คน
50. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีจาํนวนกี่คน 
ก. 3 คน.
ข. 5 คน.
ค. 7 คน.
ง. 9 คน
51. วาระที่ต้องพิจารณาเรียงลําดับมาตรา 
ก. วาระที่ หนึ่ง.
ข. วาระที่ สอง.
ค. วาระที่ สาม.
ง. วาระที่ ห้า
52. ข้อใดเป็นเสรีภาพบริบูรณ์ 
ก. การนับถือศาสนา.
ข. การสื่อสาร.
ค. การประกอบอาชีพ.
ง. การเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย
53. ข้อใดเป็นหน้าที่ของบุคคล 
ก. รับราชการทหาร.
ข. เสียภาษีอากร.
ค. พิทักษ์ ปกป้องสืบสานวัฒนธรรม.
ง. ถูกทุกข้อ
54. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวนโยบายแห่ง รัฐด้านการต่างประเทศ 
ก. ส่งเสริมการค้าการลงทุนกับนานาประเทศ.
ข. คุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทยใน ต่างประเทศ.
ค. ปฏิบัติตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนที่ ประเทศไทยเป็นภาคี.
ง. ประสานความร่วมมือกับนานาประเทศเพื่อ ป้องกันการก่อการร้ายข้ามชาติ
55. การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นจัดอยู่ในแนวนโยบายพื้นฐานแหง่รัฐด้านใด 
ก. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน.
ข. ด้านสังคม สาธารณสุขและวัฒนธรรม.
ค. ด้านกฎหมายและการยุติธรรม.
ง. ด้านการมีส่วนร่วม
56. บุคคลที่ไม่มีสิทธิ์เสนอร่างประกอบรัฐธรรมนูญ 
ก. คณะรัฐมนตรี.
ข. ประชาชนมีสิทธิ์ออกเสียงเลอืกตั้ง.
ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.
ง. ศาลรัฐธรรมนูญ
57. ไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง 
ก. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
ข. การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น.
ค. การแต่งตั้งผู้บริหารท้องถิ่น.
ง. การออกเสียงประชามติ
58. บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรมใน เรื่องใด 
ก. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมโดยง่าย สะดวกรวดเร็ว ทั่วถึง.
ข. การได้รับการสอบสวนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม.
ค. การช่วยเหลือทางคดี.
ง. ถูกทุกข้อ
59. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีวาระในการ ดํารงตําแหน่งกี่ปี 
ก. 4 ปี.
ข. 6 ปี.
ค. 7 ปี.
ง. 9ปี
60. กําหนดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการ เมืองภาคพลเมือง จัดอยู่ในแนวนโยบายพื้นฐานแห่ง รัฐด้านใด 
ก. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ข. ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน.
ค. ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต.
ง. ด้านกระบวนการยุติธรรม
61. บุคคลที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องถูกถอดถอนออกจาก ตําแหน่ง 
ก. สมาชิกวุฒิสภา.
ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ.
ค. ปลัดกระทรวง.
ง. รัฐมนตรี
62. อายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดให้มกีารเลือก ตั้งทั่วไปภายในกี่วันนับตั้งแต่วันสิ้นสุด 
ก. 30 วัน.
ข. 45 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 45- 60วัน
63. ข้อใดไม่ได้กล่าวไว้ในแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดิน 
ก. การส่งเสริมการดําเนินการตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง.
ข. จัดระบบกําหนดขอบเขตอํานาจหน้าที่การ บริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น.
ค. พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กร ปกครองส่วนทอ้งถิ่นขนาดใหญ่.
ง. จัดระบบบริการราชการจังหวัดแบบบูรณาการ
64. ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนกี่คน 
ก. 3 คน.
ข. 5 คน.
ค. 7 คน.
ง. 9 คน
65. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมีกี่ฉบับ 
ก. 7 ฉบับ.
ข. 8 ฉบับ.
ค. 9 ฉบับ.
ง. แล้วแต่การเสนอ
66. การจะประชุมลับไม่ว่าจะเป็นรัฐสภา สภาผู้แทน ราษฎร หรือวุฒิอสภา ต้องมีสมาชิกร้องขอจํานวน เท่าใดของแต่ละสภา 
ก. หนึ่งในสองของ ส.ส.เท่าที่มีอยู่.
ข. หนึ่งในสามของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.
ค. หนึ่งในสี่ของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.
ง. หนึ่งในห้าของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่
67. การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภา ประกอบด้วยกี่วาระ 
ก. 2 วาระ.
ข. 3 วาระ.
ค. 4 วาระ.
ง. 5 วาระ
68. ข้อใดคือหน้าที่ของข้าราชการเจ้าหน้าที่รัฐใน ฐานะบุคคลทั่วไป 
ก. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ข. อํานวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาติดต่อ ราชการ.
ค. บริการประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล.
ง. วางตนเป็นกลางทางการเมือง
69. การตราพระราชกําหนดจะใช้ในกรณีใด 
ก. รักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอด ภัยสาธารณะ.
ข. รักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ.
ค. ป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ.
ง. ถูกทุกข้อ
70. ข้อใดคืออํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 
ก. จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.
ข. พิจารณาเรื่องร้องเรียนของประชาชน.
ค. ตรวจสอบการละเมิดสิทธิเด็กและสตรี.
ง. ไต่สวนเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ํารวยผิดปกติ
71. บุคคลผู้ใดไม่สามารถไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรได้ 
ก. มีอายุไม่ต่ํากว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง.
ข. มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 90 วันนับ ถึงวันเลือกตั้ง.
ค. มีสัญชาติไทย.
ง. แปลงเป็นสัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี
72. ข้อใดไม่ใช่แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้าน เศรษฐกิจ 
ก. การรักษษวินัยการเงินการคลัง.
ข. การส่งเสริมการมีงานทํา.
ค. การส่งเสริมระบบธนาคารหมู่บ้าน.
ง. การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
73. ข้าราชการระดับใดขึ้นไปต้องเข้าสู่การพิจารณา ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติหากถูกร้องเรียนว่าร่ํารวยผิดปกติ 
ก. ผู้อํานวยการกอง.
ข. รองอธิบดี.
ค. อธิบดี.
ง. ปลัดกระทรวง
74. ข้อใดกล่าวถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ 2550 
ก. รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภา.
ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบไปด้วยสภา ผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา.
ค. รัฐสภาประกอบไปด้วยสภานิติบัญญัติแห่ง ชาติและวุฒิสภา.
ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบไปด้วย วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร
75. ทุกข้อเป็นเสรีภาพของบุคคลยกเวน้ข้อใด 
ก. การสื่อสาร.
ข. การปฎิบัติตามศาสนธรรม.
ค. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม.
ง. การประกอบอาชีพ
76. บุคคลมีหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยการสิ้นสุดสมาชิก ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
ก. สภาผู้แทนราษฎร.
ข. สมาชิกวุฒิสภา.
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.
ง. ศาลรัฐธรรมนูญ
77. การแบ่งเขตเลือกตั้งสําหรับสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรแบบสัดส่วน แบ่งตามข้อใด 
ก. หลายๆอําเภอติดต่อกันรวมเป็นเขตเลือกตั้ง.
ข. จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง.
ค. กลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง.
ง. ภูมิภาคเป็นเขตเลือกตั้ง
78. กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดํารงตําแหน่ง กี่ปี 
ก. 4 ปี.
ข. 6 ปี.
ค. 7 ปี.
ง. 9 ปี
79. รัฐมนตรีที่ถูกกล่าวหาว่าร่ํารวยผดิปกติจะถูก ดําเนินคดีที่ศาลใด 
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.
ข. ศาลยุติธรรม.
ค. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่ง ทางการเมือง.
ง. ศาลปกครอง
80. การยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้ยื่นต่อหน่วยงานใด 
ก. ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน.
ข. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.
ค. องค์กรอัยการ.
ง. ศาลอาญาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตาํแหน่ง ทางการเมือง
81. ข้อใดคือศาลยุติธรรม 
ก. ศาลชั้นต้น ศาลสูงสุด.
ข. ศาลกลาง ศาลสูงสุด.
ค. ศาลชั้นต้น ศาลกลาง ศาลสูงสุด.
ง. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
82. การดําเนินการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องดําเนินการภายในกี่วันนับแต่เข้ารับตําแหน่งหรือวันพ้นตําแหน่ง 
ก. 7 วัน.
ข. 15 วัน.
ค. 30 วัน.
ง. 45 วัน
83. การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กรณีใดกระทํามิได้ 
ก. เพื่อพัฒนาระบบการแข่งขันของประเทศ.
ข. เพื่อการอันเป็นสาธารณประโภค.
ค. เพื่อการป้องกันประเทศ.
ง. เพื่อการปฏิรูปที่ดิน
84. มีอํานาจในการพิจารณาคดีกรณีพิพาทระหว่าง หน่วยงานราชการอันเนื่องมาจากการใช้อํานาจตาม กฎหมาย 
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.
ข. ศาลปกครอง.
ค. ศาลยุติธรรม.
ง. ศาลทหาร
85. ผู้ที่ให้ความเห็นชอบรา่งรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 คือใคร 
ก. สภาร่างรัฐธรรมนูญ.
ข. คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.
ค. รัฐสภา.
ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
86. สมาชิกวุฒิสภามีจํานวนกี่คน 
ก. 120 คน.
ข. 150 คน.
ค. 180 คน.
ง. 200 คน
87. ใครทําหน้าที่เป็นประธานรัฐสภา 
ก. ประธานวุฒิสภา.
ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.
ค. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
ง. ข้อ ข และ ค ถูก
88. ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐสภาแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําทลูเกล้าฯภายในกี่ วัน 
ก. 15 วัน.
ข. 20 วัน.
ค. 25 วัน.
ง. 30 วัน
89. การประชุมรัฐสภาหากไม่ใช่กรณีจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สามารถขอให้เปิดประชุมรัฐสภาได้ แต่ต้องเข้าชื่อกันร้องขอโดยมีจํานวนเท่าใด 
ก. เกินกว่ากึ่งหนึ่งของ ส.ส.เท่าที่มีอยู่.
ข. หนึ่งในสามของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.
ค. หนึ่งในสี่ของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่.
ง. หนึ่งในห้าของ ส.ส. เท่าที่มีอยู่
90. ร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายต้อง ได้รับคําแนะนําและยินยอมจากใคร 
ก. รัฐสภา.
ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
ค. สภาผู้แทนราษฎร.
ง. วุฒิสภา
91. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้บุคคลใดแตง่ตั้งผู้สําเร็จราชการ แทนพระองค์ 
ก. พระมหากษัตริย์.
ข. คณะรัฐมนตรี.
ค. คณะองคมนตรี.
ง. พระมหากษัตริย์โดยความเห็นชอบรัฐสภา
92. การกําหนดค่าตอบแทนของการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ให้คํานึงถึงราคาตามข้อใด 
ก. ราคาที่ทางราชการกําหนด.
ข. ราคาตามที่ผู้ถูกเวนคืนกําหนด.
ค. ราคาปกติในท้องตลาด.
ง. ราคาขณะที่ได้มาของอสังหาริมทรัพย์นั้น
93. สมาชิกวุฒิสภาไม่น้อยกว่ากี่คนมีสิทธิ์เข้าชื่อ ขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อให้คณะรัฐ มนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาสําคัญเกี่ยว กับการ บริหารราชการแผ่นดินโดยไม่มีการลงมติ 
ก. 1 ใน 3.
ข. 1 ใน 5.
ค. 1 ใน 6.
ง. 2 ใน 5
94. จะสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ต้องมี อายุไม่ต่ํากว่ากี่ปี 
ก. 20 ปีบริบูรณ์.
ข. 25 ปีบริบูรณ์.
ค. 30 ปีบริบูรณ์.
ง. 35 ปีบริบูรณ์
95. รัฐธรรมนูญ 2550 ได้กําหนดให้มีการตรวจสอบ การใช้อํานาจรัฐ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการตรวจ สอบอํานาจรัฐ 
ก. การตรวจสอบทรัพย์สิน.
ข. การอภิปรายไม่ไว้วางใจ.
ค. การกระทําที่ขัดกันแห่งผลประโยชน์.
ง. การถอดถอนออกจากตําแหน่ง
96. ขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่ร่างพระราชบัญญัติจะมีผล บังคับใช้เป็นกฎหมาย 
ก. การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร.
ข. การพิจารณาของวุฒิสภา.
ค. พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย.
ง. การประกาศในราชกิจจานุเบกษา
97. ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมและ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย สภาผู้แทน ราษฎรต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน 
ก. 20 วัน.
ข. 30 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 105 วัน
98. ไม่ใช่ข้อต้องห้ามการเป็นรัฐมนตรี 
ก. ไม่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.
ข. ไม่เป็นวุฒิสมาชิก.
ค. เคยต้องคําพิพากษาให้จําคุกพ้นโทษมา 4ปี.
ง. ถูกไล่ออกจากราชการเพราะการทุจริต
99. ร่างพระราชบัญญัติต้องเสนอสภาใดก่อน 
ก. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
ข. รัฐสภา.
ค. วุฒิสภา.
ง. สภาผู้แทนราษฎร
100. บุคคลที่ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชพีและมี อายุเท่าใด จึงมีสิทธิได้รับสวัสดิการและความช่วย เหลือ จากรัฐ 
ก. 60 ปีบริบูรณ์.
ข. เกิน 60 ปีบริบูรณ์.
ค. 70 ปีบริบูรณ์.
ง. เกิน 70 ปีบริบูรณ์
101. สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการสรรหามีจํานวนกี่คน 
ก. 56 คน.
ข. 74 คน.
ค. 76 คน.
ง. 150 คน
102. ก่อนที่รัฐบาลจะดําเนินกิจการหรอืโครงการใดที่ มีผลกระทบต่อบุคคลหรือชุมชน ควรให้บุคคลสิทธิ ต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด 
ก. เรียกร้องค่าเสียหายทดแทน.
ข. ได้รับทราบข้อมูลโครงการ.
ค. ได้รับคําชี้แจงเหตุผลการทําโครงการ.
ง. ได้แสดงความคิดเห็นประกอบการดําเนินงาน
103. การเลือกตั้งสมาชกิวุฒิสภาให้ดําเนินการตาม ข้อใด 
ก. หย่อนบัตรลงคะแนน.
ข. ออกเสียงลงคะแนนโดยตรง.
ค. ออกเสียงลงคะแนนโดยลับ.
ง. ออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ
104. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 
ก. ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณา อรรถคดี.
ข. การโยกย้ายผู้พิพากษาและตุลาการเจ้าตัวต้อง ยินยอม.
ค. ผู้พิพากษาและอัยการจะเป็นกรรมการบริหาร พรรคการเมืองไม่ได้.
ง. ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้ชี้ขาดกรณีปัญหาใน เรื่องอํานาจหน้าที่ของแต่ละศาล
105. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีผลบังคับใช้วันใด 
ก. 23 สิงหาคม 2550.
ข. 24 สิงหาคม 2550.
ค. 25 สิงหาคม 2550.
ง. 26 สิงหาคม 2550
106. คณะกรรมการการเลือกตั้งคือบุคคลที่มคีวาม เป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็น ที่ ประจักษ์ มีจํานวนกี่คน 
ก. 3 คน.
ข. 5 คน.
ค. 7 คน.
ง. 9 คน
107. ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐสภาแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําทลูเกล้าฯภายในกี่ วัน 
ก. 15 วัน.
ข. 20 วัน.
ค. 25 วัน.
ง. 30 วัน
108. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนมีจํานวนกี่คน 
ก. 3 คน.
ข. 5 คน.
ค. 7 คน.
ง. 9 คน
109. คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองมีกี่คน 
ก. 5 คน.
ข. 7 คน.
ค. 9 คน.
ง. 13 คน
110. การประชุมรัฐสภาครั้งแรกต้องดาํเนินการภาย ในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
ก. 15 วัน.
ข. 30 วัน.
ค. 45 วัน.
ง. 60 วัน
111. ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐเป็นบุคคลสําคัญใน การที่จะทําให้นโยบายพื้นฐานรัฐด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน ควรพัฒนาส่งเสริมสนับสนุน อย่างไร 
ก. พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมอยู่เสมอ.
ข. บริการอํานวยความสะดวกแก่ประชาชน.
ค. ให้ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม.
ง. ถูกทุกข้อ
112. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐ มนตรีจะทําได้หาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลงชื่อกัน ไม่น้อยกว่าจํานวนเท่าใดของจํานวนสมาชิกทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ 
ก. 1 ใน 5.
ข. 1 ใน 3.
ค. 2 ใน 5.
ง. 2 ใน 3
113. บุคคลใดต่อไปนี้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎร 
ก. ภิกษุ สามเณร.
ข. ถูกศาลฟ้องคดีอาญา.
ค. วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ.
ง. อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
114. บุคคลใดสามารถสมคัรเป็นสมาชิกวุฒิสภาได้ 
ก. สัญญาโอนสัญชาติเป็นไทยเมื่อสิบปีที่แล้ว.
ข. กรองแก้วมีอายุ 35 ปีบริบูรณ์ในวันรับสมัคร.
ค. สําเร็จไม่มีวุฒิปริญญาตรี.
ง. สุทินเกิดในจังหวัดที่สมัครแต่ย้ายไปอยู่
115. คณะกรรมาธิการที่ตั้งโดยวุฒฺสภาหรอืสภาผู้ แทนราษฎรที่พิจารณาเร่ืองใดเรื่องหนึ่งมีอํานาจออก คําสั่งเรียกเอกสารจากบุคคลใดหรือเรียกให้บุคคลใด มาแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความเห็นได้ยกเว้น 
ก. ผู้พิพากษา.
ข. ตุลาการ.
ค. กรรมการในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.
ง. ถูกทุกข้อ
116. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอกฎหมายเป็น ร่างพระราชบัญญัติได้ต้องมีอย่างน้อยเท่าใด 
ก. 20 คน.
ข. หนึ่งในสอง.
ค. หนึ่งในสาม.
ง. หนึ่งในห้า
117. เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งพ้นตามวาระต้อง ดําเนินการให้ได้มาภายในกี่วัน 
ก. 30 วัน.
ข. 45 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 90 วัน
118. เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรต้องจัดให้มีการ เลือกตั้งใหม่ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันยุบสภาฯ 
ก. 30 วัน.
ข. 45 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 45- 60 วัน
119. ข้อใดไม่ใช่องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 
ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
ข. คณะกรรมการการเลือกตั้ง.
ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.
ง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ
120. การศึกษาสําหรับประชาชนที่กล่าวไว้ในรัฐ ธรรมนูญ ได้แก่การศึกษาตามข้อใด 
ก. การศึกษาทางเลือก.
ข. การเรียนรู้ด้วยตนเอง.
ค. การเรียนรู้ตลอดชีวิต.
ง. ถูกทุกข้อ
121. กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีวาระการดํารงตําแหน่งกี่ปี 
ก. 4 ปี.
ข. 6 ปี.
ค. 7 ปี.
ง. 9 ปี
122. ใครเป็นผู้วินิจฉัยว่ากระทําผิดกรณีรัฐมนตรีผู้ไม่ยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สิน หรือจงใจยื่นด้วยข้อความอันเป็นเท็จ 
ก. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน.
ข. องค์กรอัยการ.
ค. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ.
ง. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้อํารงตาํแหน่ง ทางการเมือง
123. ใครเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งองคมนตรีหรือให้องคมนตรีพ้นจากตําแหน่ง 
ก. ประธานรัฐสภา.
ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.
ค. ประธานวุฒิสภา.
ง. ประธานองคมนตรี
124. อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เป็นรายบุคคลจะทําได้หาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ลงชื่อกันไม่น้อยกว่าจํานวนเท่าใดของจํานวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ 
ก. 1 ใน 3.
ข. 1 ใน 5.
ค. 1 ใน 6.
ง. 2 ใน 5
125. คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภามีจํานวน กี่คน 
ก. 5 คน.
ข. 7 คน.
ค. 9 คน.
ง. 15 คน
126. ใครเป็นผู้แต่งตั้งรฐัมนตรี 
ก. พระมหากษัตริย์.
ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.
ค. ประธานรัฐสภา.
ง. นายกรัฐมนตรี
127. ข้อใดเป็นบทบาทหน้าที่ของข้าราชการเจ้าหน้าที่ รัฐ ที่แตกต่างไปจากประชาชนทั่วไป 
ก. การเสียภาษีอากร.
ข. การรักษาผลประโยชน์ของชาติ.
ค. การวางตัวเป็นกลางทางการเมือง.
ง. การป้องกันภัยพิบัติ
128. บทบาทขององคก์รปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยว ข้องกับการศึกษา 
ก. มีสิทธิ์จัดการศึกษาอบรมและฝึกอาชีพตาม ความเหมาะสม.
ข. ส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม.
ค. เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรม ของรัฐ.
ง. ข้อ ก และ ค ถูก
129. การยุบสภาหรือการกําหนดวันเลือกตั้งทั่วไปให้ กําหนดเป็นกําหมายใด 
ก. พระราชบัญญัติ.
ข. พระราชกําหนด.
ค. พระราชกฤษฎีกา.
ง. ระเบียบ
130. ผู้มีอํานาจในการยุบสภาผู้แทนราษฎรคือใคร 
ก. นายกรัฐมนตรี.
ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร.
ค. ประธานรัฐสภา.
ง. พระมหากษัตริย์
131. สิ่งที่รัฐบาลสามารถกระทําได้ต่อสื่อมวลชนคือ 
ก. การให้เงินอุดหนุนกิจการหนังสือพิมพ์หรือ สื่อมวลชนของเอกชน.
ข. การจัดระเบียบสื่อมวลชน.
ค. การสั่งปิดหนังสือพิมพ์.
ง. ห้ามเสนอข่าวหรือปกปิดหรือปิดเบือนข่าว ที่เป็นผลเสียต่อรัฐบาล
132. ตําแหน่งใดไม่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์ สินและหนี้สินของตน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะทุกครั้งที่เข้ารับตําแหน่งหรือพ้นจากตําแหน่ง 
ก. รัฐมนตรี.
ข. ปลัดกระทรวง.
ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี.
ง. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
133. บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธหิรือเสรีภาพที่รัฐธรรม นูญรับรองไว้ให้ยื่นคําร้องต่อศาลใดเพื่อวินิจฉัยว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ได้ 
ก. ศาลยุติธรรม.
ข. ศาลรัฐธรรมนูญ.
ค. ศาลปกครอง.
ง. ศาลทหาร
134. คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมมีจํานวนกี่ คน 
ก. 7 คน.
ข. 9 คน.
ค. 15 คน.
ง. 19 คน
135. นโยบายพื้นฐานแห่งรฐัด้านการบริหารราชการ แผ่นดินกําหนดให้พัฒนาระบบงานภาครฐั เพื่อให้ การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสทิธิภาพด้วย วิธีการใด 
ก. วางระบบการให้บริการสาธารณะที่รวดเร็ว โปรงใส เป็นธรรม.
ข. พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรมของเจ้า หน้าที่รัฐ.
ค. ปรับปรุงรูปแบบวิธีการทํางาน.
ง. ถูกทุกข้อ
136. ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งจํานวนกี่คนสามารถเข้าชื่อถอดถอนนักการเมืองได้ 
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน.
ข. ไม่น้อยกว่าสองหมื่นคน.
ค. ไม่น้อยกว่าสามหมื่นคน.
ง. ไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
137. จะได้เป็นนายกรัฐมนตรีต้องมีสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรลงมติให้กี่คน 
ก. 20 คน.
ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5.
ค. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 6.
ง. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
138. การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานรัฐเป็น ไปตามหลักใด 
ก. หลักธรรมาภิบาล.
ข. หลักนิติธรรม.
ค. หลักคุณธรรม.
ง. หลักความเป็นกลาง
139. องค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมตาม แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านกฎหมายและยุติ ธรรมควรมีลักษณะอย่างไร 
ก. เป็นองค์กรในกํากับของรัฐ.
ข. เป็นองคืกรอิสระ.
ค. เป็นองค์กรมหาชน.
ง. เป็นหน่วยงานพิเศษ
140. สมาชิกภาพของวุฒิสมาชิกกําหนดไว้คราวละกี่ปี 
ก. 4 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง/สรรหา.
ข. 4 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง/สรรหา.
ค. 6 ปีนับตั้งแต่วันเลือกตั้ง/สรรหา.
ง. 6 ปีนับตั้งแต่ถัดจากวันเลือกตั้ง/สรรหา
141. ศาลใดมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการดําเนินคดี อาญาของผู้ดํารงตาํแหน่งทางการเมือง 
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.
ข. ศาลปกครอง.
ค. ศาลยุติธรรม.
ง. ศาลฎีกา
142. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดให้อํานาจอธิปไตยเป็นของใคร 
ก. พระมหากษัตริย์.
ข. ปวงชนชาวไทย.
ค. นายกรัฐมนตรี.
ง. คณะรัฐมนตรี
143. บุคคลใดบ้างสามารถร้องขอให้ถอดถอนรัฐ มนตรีที่มีพฤติการร่ํารวยผิดปกติ 
ก. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1ใน4 ของจํานวนส.ส.ที่มี อยู่ในสภา.
ข. ส.ว.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจํานวน ส.ว. ทั้ง หมดที่มีอยู่ในสภา.
ค. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งไม่น้อย กว่า 2 หมื่นคน.
ง. ถูกทุกข้อ
144. บุคคลมีทั้งสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใด 
ก. สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย.
ข. สิทธิและเสรีภาพในเคหะสถาน.
ค. สิทธิและเสรีภาพในการเดินทาง.
ง. สิทธิและเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่
145. ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านเศรษฐกิจ สิ่งใดเป็นกรอบในการดําเนินการ 
ก. เศรษฐกิจชุมชน.
ข. เศรษฐกิจการตลาด.
ค. เศรษฐกิจพอเพียง.
ง. เศรษฐกิจเสรี
146. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิทางการศึกษา 
ก. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปี.
ข. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถึงและมี คุณภาพ.
ค. บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่ น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และไม่เก็บค่าใช้จ่าย.
ง. บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในการรับการ ศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดอย่างทั่วถงึ และมีคุณภาพและไม่เก็บค่าใช้จ่าย
147. ประชาชนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งกี่คนสามารถ เสนอกฎหมายเป็นร่างพระราชบัญญัติได้ 
ก. ไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน.
ข. ไม่น้อยกว่าสองหมื่นห้าพันคน.
ค. ไม่น้อยกว่าสามหมื่นคน.
ง. ไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
148. ข้อใดเป็นสิทธิบุคคลต่อข้อมูลข่าวสารของ ราชการ 
ก. รับทราบข้อมูลข่าวสารราชการ.
ข. เข้าถึงข้อมูลข่าวสารราชการ.
ค. ให้ข้อมูลข่าวสาร.
ง. ถูกทุกข้อ
149. สมัยประชุมของรัฐสภา ใน 1 ปี 
ก. สมัยสามัญทั่วไป.
ข. สมัยสามัญนิติบัญญัติ.
ค. สมัยวิสามัญ.
ง. สมัยสามัญทั่วไปและสมัยสามัญนิติบญัญัติ
150. ใครมีหน้าที่ถอดถอนรัฐมนตรีที่ฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง 
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ.
ข. วุฒิสภา.
ค. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดํารงตําแหน่งทาง การเมือง.
ง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ
151. วาระของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดตามข้อ 75 ต้อง เลือกตั้งใหม่ภายในกี่วันนับตั้งแต่วันหมดวาระ 
ก. 30 วัน.
ข. 45 วัน.
ค. 60 วัน.
ง. 45- 60 วัน

http://www.thaitestonline.com