1. พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา
ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐบาล
ค. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ
ง. การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยครั้งใหญ่
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา
ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐบาล
ค. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ
ง. การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยครั้งใหญ่
2. วัตถุประสงค์ของการจัดทำ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 เพื่ออะไร
ก. ปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย
ข. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเด็กไทย
ก. ปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย
ข. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเด็กไทย
3. พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาประเทศชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศานาและวัฒนธรรม
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาประเทศชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศานาและวัฒนธรรม
4. ข้อใดให้ความหมายไม่ตรงกับ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดในสถานศึกษา
ข. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ค. กระทรวงหมายความว่า กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ง. สถานศึกษาคือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถมถึงระดับก่อนอุดมศึกษา
ก. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดในสถานศึกษา
ข. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ค. กระทรวงหมายความว่า กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ง. สถานศึกษาคือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถมถึงระดับก่อนอุดมศึกษา
5. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี ใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. ออก พ.ร.บ. เกี่ยวข้องต่อเนื่อง
ข. ออกกฎกระทรวง
ค. รักษาการตาม พ.ร.บ. นี้
ง. ประกาศเพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้
ก. ออก พ.ร.บ. เกี่ยวข้องต่อเนื่อง
ข. ออกกฎกระทรวง
ค. รักษาการตาม พ.ร.บ. นี้
ง. ประกาศเพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้
6. หลักการ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 ข้อใดกล่าวผิด
ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชนชาวไทย
ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับเยวชน
ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ง. พัฒนา สาระ หลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชนชาวไทย
ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับเยวชน
ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ง. พัฒนา สาระ หลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
7. ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา
ก. กำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ
ข. กระจายอำนาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด
ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา
ง. รวมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาไว้ในการจัดการศึกษา
ก. กำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ
ข. กระจายอำนาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด
ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา
ง. รวมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาไว้ในการจัดการศึกษา
8. ข้อใดไม่สอดคล้องกับสิทธิ และหน้าที่ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. จัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่อง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม
ข. บุคคลพิการได้รับการจัดการศึกษาตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความบกพร่อง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ค. บุคคลที่มีความสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
ง. จัดให้บุคคลมีสิทธิเสมอกัน จัดการศึกษาภาคบังคับ ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปีอย่างทั่วถึงมีคุณภาพ
ก. จัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่อง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม
ข. บุคคลพิการได้รับการจัดการศึกษาตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความบกพร่อง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ค. บุคคลที่มีความสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
ง. จัดให้บุคคลมีสิทธิเสมอกัน จัดการศึกษาภาคบังคับ ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปีอย่างทั่วถึงมีคุณภาพ
9. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์บิดา มารดา ผู้ปกครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ค. การยกเงินภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ง. การให้การศึกษาแก่บุตร หรือบุคคลในการดูแลระบบการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ค. การยกเงินภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ง. การให้การศึกษาแก่บุตร หรือบุคคลในการดูแลระบบการศึกษา
10. จุดที่ต่างกันของการศึกษาระบบต่าง ๆ ที่สำคัญคือข้อใด
ก. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ข. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร
ค. ระยะเวลา ที่จัดการศึกษา
ง. สถานที่จัดการศึกษา
ก. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ข. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร
ค. ระยะเวลา ที่จัดการศึกษา
ง. สถานที่จัดการศึกษา
11. ข้อใดกล่าวผิด
ก. การศึกษาในระบบ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ข. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาภาคบังคับไม่น้อยกว่า 12 ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา
ค. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา
ง. การแบ่งระดับการเทียบระดับนอกระบบให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
ก. การศึกษาในระบบ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ข. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาภาคบังคับไม่น้อยกว่า 12 ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา
ค. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา
ง. การแบ่งระดับการเทียบระดับนอกระบบให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
12. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการจัดศูนย์การเรียนตาม มาตรา 18 ของ พ.ร.บ. การศึกษา
ก. โรงเรียน
ข. บุคคล
ค. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. โรงพยาบาล
ก. โรงเรียน
ข. บุคคล
ค. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. โรงพยาบาล
13. หลักการจัดการศึกษาข้อใดไม่สอดคล้องตาม พ.ร.บ.การศึกษา
ก. ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ข. ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ค. ครูต้องมีจิตสานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ
ง. ต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามศักยภาพ
ก. ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ข. ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ค. ครูต้องมีจิตสานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ
ง. ต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามศักยภาพ
14. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม พ.ร.บ.
ก. ฝึกทักษะการเผชิญสถานการณ์
ข. ฝึกปฏิบัติให้คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน
ค. จัดกิจกรรมผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
ง. สอดคล้องตามความถนัด และความสนใจของนักเรียนและครูผู้สอนอย่างแท้จริง
ก. ฝึกทักษะการเผชิญสถานการณ์
ข. ฝึกปฏิบัติให้คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน
ค. จัดกิจกรรมผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
ง. สอดคล้องตามความถนัด และความสนใจของนักเรียนและครูผู้สอนอย่างแท้จริง
15. การจัดทำหลักสูตรแกนกลาง เป็นบทบาทของบุคคลในข้อใด
ก. โรงเรียน ชุมชน
ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สภาการศึกษาแห่งชาติ
ก. โรงเรียน ชุมชน
ข. คณะกรรมการเขตพื้นที่
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สภาการศึกษาแห่งชาติ
16. จุดมุ่งหมายสำคัญของการให้สถานศึกษาร่วมกับชุมชน ครอบครัว ท้องถิ่น ร่วมพัฒนา
ก. ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ข. ชุมชนมีการแสวงหาความรู้ภายในชุมชน
ค. พัฒนาชุมชนตามสภาพปัญหาความต้องการ
ง. ชุมชนมีส่วนร่วมจัดการศึกษาการบริหารและการจัดการศึกษา
ก. ส่งเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ข. ชุมชนมีการแสวงหาความรู้ภายในชุมชน
ค. พัฒนาชุมชนตามสภาพปัญหาความต้องการ
ง. ชุมชนมีส่วนร่วมจัดการศึกษาการบริหารและการจัดการศึกษา
17. องค์กรหลักของกระทรวง ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. คณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ง. คณะกรรมการอุดมศึกษา
ก. คณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ง. คณะกรรมการอุดมศึกษา
18. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเกี่ยวข้องกับข้อใด น้อยที่สุด
ก. สนับสนุนทรัพยากร การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ต่ำกว่าอุดมศึกษา
ค. ติดตามตรวจสอบ และประเมินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. จัดการศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา
ก. สนับสนุนทรัพยากร การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ต่ำกว่าอุดมศึกษา
ค. ติดตามตรวจสอบ และประเมินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. จัดการศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา
19. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล
ก. ไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสภาการศึกษา
ข. มีกฎหมายจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ
ค. พัฒนาระบบบริหารเป็นของตนเอง
ง. มีความคล่องตัวทางวิชาการ
ก. ไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสภาการศึกษา
ข. มีกฎหมายจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ
ค. พัฒนาระบบบริหารเป็นของตนเอง
ง. มีความคล่องตัวทางวิชาการ
20. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่
ก. ผู้แทนสมาคมวิชาชีพครู
ข. ผู้แทนเอกชน
ค. ผู้แทนองค์กรชุมชน
ง. ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู
ก. ผู้แทนสมาคมวิชาชีพครู
ข. ผู้แทนเอกชน
ค. ผู้แทนองค์กรชุมชน
ง. ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู
21. หลักเกณฑ์การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษากำหนดเป็น
ก. กฎหมาย
ข. กฎกระทรวง
ค. กฏระเบียบกรม
ง. กฎระเบียบสถานศึกษา
ก. กฎหมาย
ข. กฎกระทรวง
ค. กฏระเบียบกรม
ง. กฎระเบียบสถานศึกษา
22. ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กรรมการโรงเรียน
ก. ผู้แทนครู
ข. ผู้แทนศิษย์เก่า
ค. ผู้แทนองค์กรเอกชน
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิ
ก. ผู้แทนครู
ข. ผู้แทนศิษย์เก่า
ค. ผู้แทนองค์กรเอกชน
ง. ผู้ทรงคุณวุฒิ
23. รัฐมีอำนาจกำกับโรงเรียนเอกชนด้านใด
ก. การวัดผล
ข. มาตรฐานการศึกษา
ค. ธุรการ
ง. วิชาการ
ก. การวัดผล
ข. มาตรฐานการศึกษา
ค. ธุรการ
ง. วิชาการ
24. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประกันคุณภาพภายในได้แก่
ก. สถานศึกษาเท่านั้น
ข. สถานศึกษาและเขตพื้นที่
ค. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก. สถานศึกษาเท่านั้น
ข. สถานศึกษาและเขตพื้นที่
ค. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. สถานศึกษา เขตพื้นที่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
25. กรณีสถานศึกษามีผลการประเมินภายนอกไม่ได้มาตรฐานและไม่ปรับปรุงแก้ไขให้รายงานต่อ
ก. สถานศึกษา
ข. เขตพื้นที่การศึกษา
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. กระทรวงศึกษาธิการ
ก. สถานศึกษา
ข. เขตพื้นที่การศึกษา
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. กระทรวงศึกษาธิการ
26. องค์กรวิชาชีพครูอยู่ภายในการกำกับของ
ก. สภาวิชาชีพ
ข. เขตพื้นที่
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. กระทรวงศึกษาธิการ
ก. สภาวิชาชีพ
ข. เขตพื้นที่
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. กระทรวงศึกษาธิการ
27. การจัดให้มีองค์กรวิชาชีพครู ใบประกอบวิชาชีพครูเป็นไปตาม
ก. กฎหมาย
ข. ระเบียบแบบแผน
ค. กฎกระทรวง
ง. กฎระเบียบสถานศึกษา
ก. กฎหมาย
ข. ระเบียบแบบแผน
ค. กฎกระทรวง
ง. กฎระเบียบสถานศึกษา
28. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
ก. ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน
ข. ให้มีกองทุนผลงานดีเด่น
ค. ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินประจำตำแหน่ง
ง. ให้มีกองทุนรางวัลเชิดชูเกียรติทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ก. ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน
ข. ให้มีกองทุนผลงานดีเด่น
ค. ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินประจำตำแหน่ง
ง. ให้มีกองทุนรางวัลเชิดชูเกียรติทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
29. ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. สถานศึกษาของรัฐมีอำนาจปกครองดูแล บำรุงรักษาใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน
ข. บรรดาอสังหาริมทรัพย์ของสถานศึกษาที่มีผู้บริจาคหรือโดยซื้อ แลก ไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ
ค. บรรดารายได้ ผลประโยชน์จากราชพัสดุเป็นรายได้ไม่ต้องนำส่งคลัง
ง. บรรดารายได้ ผลประโยชน์สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายของสถานศึกษา
ก. สถานศึกษาของรัฐมีอำนาจปกครองดูแล บำรุงรักษาใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน
ข. บรรดาอสังหาริมทรัพย์ของสถานศึกษาที่มีผู้บริจาคหรือโดยซื้อ แลก ไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ
ค. บรรดารายได้ ผลประโยชน์จากราชพัสดุเป็นรายได้ไม่ต้องนำส่งคลัง
ง. บรรดารายได้ ผลประโยชน์สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายของสถานศึกษา
30. เงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคลข้อต่อไปนี้ ข้อใดไม่ได้รับ
ก. ประชาชน
ข. ครอบครัว
ค. บุคคล
ง. องค์กรชุมชนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ก. ประชาชน
ข. ครอบครัว
ค. บุคคล
ง. องค์กรชุมชนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น